คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 1
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
1. บทเรียนสำเร็จรูป (Lesson)
บทเรียนสำเร็จรูป เป็นเนื อหาบทเรียนท ีผู้สอนทำการออกแบบการสอนไว้ โดยกำหนดเส้นทาง
การศึกษาเนื อหาท ีประกอบไปด้วยจำนวนหน้าของเนื อหา โดยแต่ละหน้าจะมีคำถามเพ ือประเมินความ
เข้าใจของผู้เรียนก่อนจะข้ามไปศึกษาเนื อหาหน้าอ ืนต่อไป
แผนผังแสดงการเรียนแบบเป็นลำดับตามเนื อหาท ีผู้สอนกำหนดไว้ จากหน้าท ี 1 – 3
คำชีแ
จง / รายละเอียด
ก่อนเข้าบทเรียน
เนือ
หาบทเรียน
หน้าที 1
เนือ
หาบทเรียน
หน้าที 2
เนือ
หาบทเรียน
หน้าที 3
เริ มศึกษาบทเรียน
จบบทเรียน
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 2
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
จากภาพด้านบนเป็นการแสดงลำดับการเรียนเป็นขั นตอนโดยเริ มท ีเนื อหาหน้าท ี 1 ก่อน เม ือผู้เรียน
ดูเนื อหาจบในแต่ละหน้าจะคำถามให้ผู้เรียนตอบ ถ้าผู้เรียนตอบถูกก็จะเข้าไปศึกษาในหน้าท ี 2 ต่อไปได้
ส่วนถ้าตอบผิดก็จะอยู่ท ีหน้าเดิม เช่นเดียวกัน ถ้าศึกษาในหน้าท ี 2 แล้วตอบคำถามถูกก็จะเข้าไปศึกษา
หน้าที 3 ต่อไป จนจบบทเรียน
ตัวอย่างการสร้างบทเรียนสำเร็จรูป
1. เลือกเพิ มกิจกรรม บทเรียนสำเร็จรูป และตั งค่าให้กับชุดบทเรียนสำเร็จรูป ดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 3
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เม ือตั งค่าเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Save and display จะเข้าสู่หน้าตามรูปข้างล่าง
2. เลือก เพม#ิ สารบาญ เพ ือเพิ มสารบาญของเนื อหาแต่ละหน้า ในท ีนี จะใส่คำชี แจงและรายละเอียด
ก่อนเข้าบทเรียนโดยไม่เพิ มหน้าสารบาญ เนื องจากต้องการให้ผู้เรียนศึกษาแบบเป็นลำดับ ดัง
รูปข้างล่าง
ใส่เฉพาะช ือหัวข้อบทเรียนและคำชี แจงสำหรับบทเรียนนี แล้วทำการคลิกปุ่ม เพม#ิ สารบาญ
ดังรูปข่างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 4
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ก็จะได้ชุดบทเรียนท ีพร้อมจะใส่เนื อหาและคำถามแล้วดังรูปข้างล่าง
3. เพิ มเนื อหาและคำถามแต่ละหน้าได้โดยการเลือกท ี Add a question page here โดยการเพิ ม
เนื อหาในหน้าแรกก่อนคือหน้าท ี 1 ให้ใส่หัวข้อ เนื อหา และคำถาม ดังรูปข้างล่าง
ใส่รายละเอียดคำถามดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 5
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
การใส่คำถามจะใส่ได้จำนวนตัวเลือกตามท ีได้ตั งค่าชุดแบบสอบถามไว้ตั งแต่ต้น ซึ งในท ีนี ใส่คำถามแค่ 3
ตัวเลือกเท่านั น ช่องตัวเลือกท #ี 1 ให้ใส่คำถามหรือตัวเลือกท ี 1 สำหรับให้ผู้เรียนเลือกตอบ ในช่องของ เม#ือ
ตอบข้อนีใ5 ห้แสดงข้อความว่า.. 1 ให้ใส่ข้อความท ีจะแสดงเม ือเลือกแล้ว ส่วนต่อมาคือ ช่อง ไป 1 นั นให้
ผู้สอนกำหนดว่าเม ือตอบตัวเลือกนี แล้วจะให้ไปศึกษาเนื อหาหน้าใดต่อไป ซึ งถ้าตัวเลือกนี ถูกก็ให้เลือกไป
หน้าต่อไป และมีการให้คะแนนได้ด้วย แต่ถ้าผิดก็ให้อยู่หน้านี การกำหนดแบบนี ผู้เรียนจะได้เรียนแบบ
ตามลำดับท ีผู้สอนกำหนด เม ือใส่ข้อมูลเรียบร้อยแล้วก็ทำการคลิกท ีปุ่ม เพม#ิ หน้าคำถาม ก็จะได้เนื อหาท ีเป็น
บทเรียนแล้ว 1 หน้าดังรูปข้างล่าง
เช่นเดียวกัน สามารถเพิ มเนื อหาหน้าท ี 2 และ 3 ขึ นมาได้ ก็จะได้บทเรียนสำเร็จรูปในรายวิชา ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 6
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผู้เรียนสามารถเข้าไปศึกษาบทเรียนได้ดังรูปข้างล่าง
ศึกษาเนื อหาหน้าท ี 1 แล้วตอบคำถาม
ศึกษาเนื อหาหน้าท ี 2 แล้วตอบคำถาม
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 7
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ศึกษาเนื อหาหน้าท ี 3 แล้วตอบคำถาม
จบบทเรียน
2. การบ้าน (Assignments)
การบ้านเป็นกิจกรรมที ผู้สอนมอบหมายให้ผู้เรียนส่งงานเป็นการบ้านผ่านทางระบบ โดยมีรูปแบบ
ให้ส่งการบ้านอยู่ 4 รูปแบบ คือ
2.1 อัพโหลดไฟล์ชั นสูง รูปแบบนี เป็นการส่งการบ้านโดยอัพโหลดไฟล์ซึ งอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ ได้
จำนวนหลายไฟล์ขึ นอยู่ท ีผู้สอนจะกำหนด และกำหนดให้ผู้เรียนลบไฟล์ท ีส่งมาได้ด้วย
2.2 คำตอบออนไลน์ รูปแบบนี เป็นการส่งการบ้านโดยให้ผู้เรียนพิมพ์ข้อความคำตอบลงบนเว็บ
และผู้สอนให้คะแนนออนไลน์ ซึ งสามารถใส่คำแนะนำต่าง ๆ ลงไปได้
2.3 ส่งโดยให้อัพโหลดไฟล์ รูปแบบนี เป็นการให้ผู้เรียนอัพโหลดไฟล์เหมือนกับอัพโหลดไฟล์
ชั นสูง แต่จะมีไฟล์การบ้านไฟล์เดียวเท่านั น ขึ นอยู่กับผู้สอนท ีจะอนุญาตให้ส่งซ ำได้หรือไม่
การกำหนดเง ือนไขได้น้อยกว่าแบบอัพโหลดไฟล์ชั นสูง ผู้สอนสามารถเปิ ดดูไฟล์ท ีส่งมา แล้ว
ทำการให้คะแนนบนเว็บได้
2.4 ส่งงานนอกเว็บ รูปแบบนี เป็นการให้ผู้เรียนส่งงานกับตัวผู้สอนเอง ไม่ได้ส่งผ่านเว็บ แต่ผู้สอน
สามารถให้คะแนนบนเว็บในรายวิชาได้ และผู้เรียนก็สามารถเข้าดูคะแนนของตนเองได้
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 8
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ในท ีนี จะอธิบายถึงการสร้างการบ้านแบบ ส่งโดยให้อัพโหลดไฟล์ ดังตัวอย่างต่อไปนี
ตัวอย่างการสร้างการบ้านส่งโดยให้อัพโหลดไฟล์
1. เลือกเพิ มกิจกรรม การบ้านส่งโดยให้อัพโหลดไฟล์ ดังรูปข้างล่าง
2. ตั งค่าให้กับการบ้านท ีสร้างขึ นมา ดังรูปข่างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 9
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3. ผู้เรียนสามารถเข้าไปส่งการบ้านได้ดังรูปต่อไปนี
คลิกที ลิ งค์การบ้าน
จะเห็นคำอธิบายและส่วนให้อัพโหลดไฟล์การบ้านส่งผ่านเว็บ ดังรูปข่างล่าง
อัพโหลดไฟล์ส่งการบ้านเรียบร้อย
แสดงชื อไฟล์ที ผู้เรียนส่งการบ้าน
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 10
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
4. ผู้สอนเข้าไปดูการบ้านที ส่งมาและให้คะแนนได้ดังรูป
3. กระดานเสวนา (Forum)
กระดานเสวนา หรือเว็บบอร์ด เป็นกิจกรรมที ผู้สอนใช้ในการติดต่อสื อสารระหว่างผู้เรียน
กับผู้สอน หรือผู้เรียนด้วยกันเอง ซึ งผู้สอนสามารถใช้กระดานเสวนาในการประกาศข่าวหรือตั ง
กระทู้เพ ือให้ผู้เรียนเข้ามาตอบคำถามหรือแสดงความคิดเห็นในรายวิชาได้ ซึ งรูปแบบของกระดาน
เสวนามี 4 ประเภท คือ
3.1 กระดานถาม – ตอบ เป็นกระดานเสวนาเพ ือให้ผู้เรียนเข้ามาตั งกระทู้ได้ไม่จำกัด และ
สามารถเห็นข้อความท ีตอบกระทู้ของตัวเองท ีตั งขึ นได้ แต่ถ้าจะดูคำตอบในกระทู้ของ
คนอ ืนนั น ต้องทำการตอบกระทู้นั นก่อน
3.2 กระดานทัว ไป เป็นกระดานเสวนาประเภทปลายเปิ ด ซึ งแต่ละคนสามารถตั งกระทู้
ใหม่ได้ไม่จำกัด และสามารถตอบกระทู้ได้ทุกกระทู้ กระดานเสวนาประเภทนี เหมาะ
ท ีสุดสำหรับกระดานเสวนาท ีมีวัตถุประสงค์ทัว ไป
3.3 กระดานหัวข้อเดียวอย่างง่าย เป็นกระดานท ีผู้สอนตั งกระทู้ได้หัวข้อเดียว สมาชิกทุก
คนจะเข้ามาตอบได้อย่างเดียวเท่านั น ซึ งเนื อหาทุกอย่างอยู่ภายในหน้าเดียวกัน กระทู้
ประเภทนี เหมาะสำหรับเร ืองท ีสั นและกระชับ
3.4 หนึ งคนหนึ งกระทู้ เป็นกระดานเสวนาท ีให้สมาชิกแต่ละคนสามารถโพสต์กระทู้ได้
เพียง 1 กระทู้เท่านั น แต่ทุกคนจะสามารถตอบได้ทุกกระทู้ ซึ งจะเป็นประโยชน์ เม ือ
ผู้สอนต้องการให้ผู้เรียนตั งกระทู้ของตนและให้ผู้อ ืนมาแสดงความเห็นในหัวข้อของ
ตนเอง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 11
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ในท ีนี จะอธิบายถึงการสร้างกระดานเสวนาประเภท กระดานทัว ไป จากตัวอย่างต่อไปนี
ตัวอย่างการสร้างกระดานเสวนากระดานทั#วไป
1. เลือกเพิ มกิจกรรม กระดานเสวนา ดังรูปข้างล่าง
2. ทำการตั งค่ากระดานเสวนาดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 12
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
โดยตั งช ือกระดาน และเลือกประเภทกระดานเป็น กระดานทัว ไป ใส่วิธีการใช้กระดาน เม ือตั งค่าเสร็จคลิกท ี
ปุ่ม Save and return to course ก็จะได้หัวข้อกระดานเสวนาในรายวิชาดังรูปข้างล่าง
3. การโพสต์กระทู้ในกระดานเสวนา ผู้สอนและผู้เรียนสามารถเข้าไปตั งกระทู้และตอบกระทู้ได้
ไม่จำกัด ซึ งต่อไปนี เป็นการสร้างกระทู้ใหม่ดังรูปข้างล่าง
ใส่รายละเอียดของกระทู้ ซึ งมีหัวข้อและข้อความ
เม ือตั งกระทู้หรือตอบกระทู้แล้วจะมีเวลาในการแก้ไขหรือลบกระทู้ ภายในเวลา 30 นาที
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 13
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ตั งกระทู้เรียบร้อยแล้ว
สมาชิกหรือผู้เรียนสามารถมาตอบและตั งกระทู้ใหม่ได้ ดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 14
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
4. ห้องสนทนา (Chat)
ห้องสนทนาเป็นกิจกรรมที ใช้สำหรับให้สมาชิกท ีออนไลน์อยู่ในรายวิชาทำการสนทนาด้วยการ
พิมพ์ข้อความโต้ตอบกัน ซึ งจะเป็นประโยชน์สำหรับการถามตอบประเด็นในเร ืองต่างๆ การสร้างห้อง
สนทนาทำได้ดังตัวอย่างต่อไปนี
ตัวอย่างการสร้างห้องสนทนา
1. เลือกเพิ มกิจกรรม ห้องสนทนา ดังรูปข้างล่าง
2. ทำการตั งค่าห้องสนทนาดังรูปข้างล่าง
ตั งค่าการสนทนาได้โดยกำหนด
- เวลาสนทนาครั งต่อไป ตั งค่าวันเวลาในการเริ มเปิ ดการสนทนา
- เสวนาเร ืองนี ซ ำ การกำหนดวันเวลาในการสนทนาในหัวข้อนี อีกครั ง
- บันทึกการเสวนาครั งท ีผ่านมา ให้บันทึกข้อความท ีได้สนทนาไปแล้วเก็บไว้ก ีวัน
- ทุกคนสามารถดูการเสวนาครั งท ีผ่านมาได้ ให้ทุกคนดูข้อความเก่าท ีได้สนทนาหรือไม่
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 15
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3. เมื อบันทึกแล้วก็จะได้ลิงค์หัวข้อห้องสนทนาดังรูป
4. เข้าสู่หน้าต่างการสนทนา และทำการพิมพ์ข้อความเข้าไปได้ ดังรูป
5. โพลล์ (Choice)
โพลล์เป็นกิจกรรมสำรวจความคิดเห็นท ีผู้สอนสามารถใช้ตั งคำถามและกำหนดตัวเลือกคำตอบ ซึ ง
จะเป็นประโยชน์กรณีใช้เป็นแบบสำรวจอย่างเร็วเพ ือกระตุ้น หรือระดมความคิดในหัวข้อใดหัวข้อหนึ ง
สามารถสร้างโพลล์ได้ดังตัวอย่างต่อไปนี
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 16
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ตัวอย่างการสร้างโพลล์
1. เลือกเพิ มกิจกรรม โพลล์ ดังรูปข้างล่าง
2. ทำการตั งค่าโพลล์ ดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 17
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3. ผู้เรียนเข้าไปทำแบบสำรวจนี ได้ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 18
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ทำการตอบแบบสำรวจ
ผลที ได้จะแสดงเป็นกราฟและเปอร์เซ็นต์ของผู้ตอบทั งหมด
ผู้สอนสามารถเข้าไปดูผลการตอบได้ว่าใครตอบอะไรบ้าง และดาวน์โหลดผลเป็นเอกสาร Excel ได้
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 19
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
6. อภิธานศัพท์ (Glossary)
อภิธานศัพท์เป็นกิจกรรมท ีทุกคนสามารถเพิ มรายการคำศัพท์พร้อมความหมายหรือคำอธิบายได้
เหมือนๆ พจนานุกรม และสามารถสืบค้นได้ ซึ งจะเป็นประโยชน์กับรายวิชาท ีมีคำศัพท์มากมายท ี
ต้องการอธิบายความหมายของคำศัพท์นั นๆ การสร้างอภิธานศัพท์ทำได้ดังตัวอย่างต่อไปนี
ตัวอย่างการสร้างอภิธานศัพท์
1. เลือกเพิ มกิจกรรม อภิธานศัพท์ ดังรูปข้างล่าง
2. ทำการตั งค่าโพลล์ ดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 20
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
3. เพิ มคำศัพท์โดยการคลิกปุ่ม เพิ มคำศัพท์ใหม่ ดังรูป
4. ใส่คำศัพท์และคำจำกัดความ และคำที ใช้ในการค้นหา ดังรูปข้างล่าง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 21
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
5. จะได้อภิธานศัพท์ท ีเพิ มเข้าไปโดยจะถูกจัดเก็บเป็นหมู่ตามหมวดอักษร และสามารถค้นหา
คำศัพท์ได้ ดังรูป
7. การจัดการระบบสำหรับรายวิชา
ผู้สอนสามารถจัดการระบบเกี ยวกับรายวิชาของตนเองได้ ที บล็อก การจัดการระบบ เช่น การ กำหนด
บทบาท คะแนนทั งหมด กลุ่ม การสำรองข้อมูล กู้คืน นำเข้า รีเซ็ท รายงาน และคำถาม เป็นต้น
7.1 กำหนดบทบาท (Assign roles) เป็นการกำหนดบทบาทหรือสิทธิของผู้ใช้ในรายวิชาของเราว่าเป็น
ผู้ใช้ที มีสถานะอะไร เช่น Guest, Student และ Non-editing teacher โดยเข้าไปที เมนู Assign roles ในบล็อก
การจัดการระบบ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 22
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผู้สอนสามารถเลือกบทบาทที จะกำหนดให้ผู้ใช้ได้โดยคลิกที Guest, Student และ Non-editing teacher
ตัวอย่าง เช่น จะเพิ มผู้เรียนเข้าในรายวิชาทำได้โดยการคลิกท ี Student
ทำการเลือกผู้ใช้ด้านขวามือแล้วปุ่ม เพม#ิ ผู้ใช้ก็จะไปอยู่ทางด้านซ้ายมือ หรือเม ือต้องการยกเลิกสิทธิXการเข้า
เรียนของผู้ใช้ก็ทำได้โดยการคลิกท ีช ือผู้นั นแล้วทำการคลิกท ีปุ่ม ปลดออก เพ ือย้ายไปด้านขวามือได้ ดังรูป
7.2 คะแนนทั5งหมด (Grades) เป็นการดูคะแนนและจัดการคะแนนทั งหมดท ีเกิดขึ นในรายวิชา โดยเข้า
ไปท ี ท ีเมนู คะแนนทั5งหมด ในบล็อกการจัดการระบบ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 23
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
สามารถดาวน์โหลดไฟล์คะแนนออกมาในรูปของไฟล์ Excel ได้ ดังรูป
7.3 กลุ่ม (Groups) เป็นการจัดกลุ่มผู้เรียนในรายวิชา ในกรณีท ีรายวิชานี มีการสอนหลายห้อง เพ ือจะ
แยกได้ว่าผู้เรียนอยู่กลุ่มใด โดยเข้าไปท ี ท ีเมนู กลุ่ม ในบล็อกการจัดการระบบ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 24
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผู้สอนสามารถสร้างกลุ่ม แก้ไข และลบกลุ่มได้ เช่น ต้องการสร้างกลุ่มให้กับรายวิชาโดยคลิกท ีปุ่ม
Create group ดังรูป
จะได้ช ือกลุ่มอยู่ช่องซ้าย ดังรูป
ทำการเพิ มรายช ือสมาชิกในรายวิชาเข้าไปในกลุ่มท ีสร้างไว้ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 25
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
7.4 การสำรองข้อมูล (Backup) เป็นการสำรองข้อมูลทั งหมดของรายวิชา ในกรณีท ีผู้สอนต้องการเก็บ
ข้อมูลรายวิชาไว้เพื อป้องกันการสูญหาย หรือสำรองไว้เพื อนำไปใช้กับ Moodle แห่งอื น โดยเข้าไปที ที เมนู
การสำรองข้อมูล ในบล็อกการจัดการระบบ ดังรูป
ผู้สอนสามารถเลือกสำรองข้อมูลได้เฉพาะบางส่วนหรือทั งหมด ระบบจะแสดงข้อมูลท ีผู้สอนได้ทำ
การสำรอง
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 26
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เมื อสำรองข้อมูลเสร็จข้อมูลที ได้จะเก็บไว้ในรูปแบบไฟล์ zip ในส่วนของระบบไฟล์ของรายวิชา
ในโฟลเดอร์ backupdata ซึ งผู้สอนสามารถ Save ไฟล์ออกไปเก็บไว้ข้างนอกได้ ดังรูป
7.5 กู้คืน (Restore) เป็นการนำข้อมูลท ีสำรองไว้มาทำการกู้คืนเข้าสู่รายวิชาเดิมหรือรายวิชาใหม่ ใน
กรณีที ผู้สอนสร้างรายวิชาใหม่ หรือบน Moodle แห่งอื นก็ได้ สามารถนำไฟล์ที ได้สำรองไว้ไปกู้คืนเข้าไปได้
ก็จะได้รายวิชาใหม่ท ีมีข้อมูลและกิจกรรมเหมือนกับรายวิชาท ีได้สำรองข้อมูล จากตัวอย่างต่อไปนี เป็นการกู้
คืนข้อมูลท ีไดสำรองไว้ไปใส่ในรายวิชาใหม่ ซึ งรูปข้างล่างเป็นรายวิชาใหม่ท ีสร้างขึ นยังไม่มีข้อมูลอะไรเลย
เข้าไปท ีเมนู กู้คืน ในบล็อกการจัดการระบบ แล้วทำการอัพโหลดไฟล์ท ีได้สำรองข้อมูลไว้ ดังรูป
เลือกไฟล์ที สำรองไว้
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 27
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เมื ออัพโหลดแล้วทำการกู้คืนโดยคลิกท ี กู้คืน
ทำตามขั นตอน ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 28
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เมื อกระบวนการเสร็จสิ นก็ได้รายวิชาที มีข้อมูลท ีได้สำรองมาอยู่ในรายวิชาใหม่เรียบร้อย
7.6 นำเข้า (Import) เป็นการนำเข้าแหล่งข้อมูลและกิจกรรมจากรายวิชาอ ืนท ีตัวเองมีสิทธิX เป็นผู้สอนอยู่
ในรายวิชานั น ซึ งสะดวกในการใช้กิจกรรมและข้อมูลร่วมกันโดยไม่ต้องสร้างขึ นมาใหม่ จากตัวอย่าง
ต่อไปนี เป็นการนำเข้ากิจกรรมจากอีกรายวิชา ซึ งรูปข้างล่างเป็นรายวิชาใหม่ท ีสร้างขึ นคือรายวิชา
เทคโนโลยีสารสนเทศ ยังไม่มีข้อมูลอะไรเลย ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 29
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เข้าไปที ที เมนู นำเข้า ในบล็อกการจัดการระบบ จะเห็นรายวิชาที ผู้สอนสามารถนำกิจกรรมเข้ามาใส่ใน
รายวิชานี ได้ ซึ งจากตัวอย่างผู้สอนมีสิทธิX เป็นผู้สอนในวิชาอ ืนอีก 2 รายวิชาคือ วิชาการสร้างเว็บไซต์ และ
วิชาอินเทอร์เน็ตเบื องต้น และยังแสดงรายวิชาท ีอยู่ในประเภทเดียวกันให้ด้วย แต่จะไม่แสดงประเภทอ ืนท ี
ไม่ใช่ประเภทของรายวิชาที กำลังจะนำเข้ากิจกรรม
ตัวอย่างนำเข้ากิจกรรมจากรายวิชา อินเทอร์เน็ตเบื องต้น แล้วคลิกท ีปุ่ม ใช้รายวิชานี 5
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 30
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ผู้สอนสามารถเลือกเฉพาะกิจกรรมที ต้องการนำเข้าได้ แล้วไปขั นตอนต่อไป
จะได้กิจกรรมท ีนำเข้ามาในรายวิชานี แล้วดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 31
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
7.7 รีเซ็ท (Reset) เป็นการเริ มต้นใช้งานวิชาใหม่ เม ือผู้สอนต้องการใช้รายวิชาเดิมกับผู้เรียนกลุ่มใหม่
หรือใช้กับภาคการศึกษาใหม่ ผู้สอนสามารถทำการลบข้อมูลการทำกิจกรรมหรือข้อมูลท ีเกิดขึ นกับรายวิชา
ได้ โดยเลือกลบเป็นบางส่วนก็ได้ ขณะท ียังคงเก็บกิจกรรมและการตั งค่าอ ืน ๆ เอาไว้ การลบข้อมูลใด ๆ แล้ว
จะไม่สามารถกู้กลับคืนมาได้ การลบข้อมูลทำได้โดยเข้าไปที เมนู รีเซ็ท ในบล็อกการจัดการระบบ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 32
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เลือกข้อมูลที ต้องการลบแล้วคลิกปุ่ม รีเซ็ทรายวิชา
เข้าสู่หน้ารายวิชาปกติ
7.8 รายงาน (Reports) เป็นการดูรายงานหรือสถิติการใช้งานในรายวิชา โดยสามารถเลือกให้แสดงการ
เข้าใช้งานตาม ชื อสมาชิก วันที กิจกรรม ได้ และดาวน์โหลดรายงานออกมาเป็นไฟล์เอกสารได้ ดูรายงานได้
โดยเข้าไปที เมนู รายงานในบล็อกการจัดการระบบ ดังรูป
คู่มือการใช้งาน Moodle สำหรับผู้สอน | หน้า 33
อรรคเดช โสสองชั น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
รายงานผลกิจกรรม ซึ งจะบอกว่ามีการกิจกรรมต่างๆในรายวิชาแล้วจำนวนก ีครั ง
รายงานการมีส่วนร่วม ซึ งจะบอกถึงสมาชิกแต่ละคนได้เข้าไปทำกิจกรรมหรือยัง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น